บทที่ 5
บทที่ 5
การศึกษาความเป็นไปได้
ก่อนการดำเนินกการพัฒนาระบบจะต้องศึกษาความเป็นไปได้ โดยศึกษาสภาพข้อจำกัดตามสภาพที่แท้จริงในด้านต่างๆ ทั้งนี้เพื่อประเมินว่าสามารถดำเนินการพัฒนาระบบต่อเนื่องจนเสร็จสิ้นได้หรือไม่ ดังนี้
1. ความเป็นไปได้ทางเศรษฐศาสตร์
โดยทั่วไปพิจารณาจากผลตอบแทนที่ได้รับเมื่อเทียบกับต้นทุนที่ใช้ในการพัฒนาระบบ และระบบนี้ต้องใช้ระบบไปนานเท่าไรจึงจะคุ้มทุน โดยมีข้อพิจารณาดังนี้
- การพิจารณาผลตอบแทน(Benefit)
- ผลตอบแทนที่จับต้องได้ คือ ผลตอบแทนที่สามารถประเมินค่า หรือวัดออกมาเป็นตัวเงินได้
- ผลตอบแทนที่จับต้องไม่ได้ คือ ผลตอบแทนที่ยากต่อการประเมินค่า หรือวัดออกมาเป็นตัวเงิน
- การพิจารณาด้านต้นทุน (Cost)
การพัฒนาระบบเป็นการลงทุนที่มีค่าใช้จ่ายหรือต้นทุนในตอนเริ่มต้น ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นมีรูปแบบต่างๆ และค่าใช้จ่ายหลายอย่างเกิดขึ้นเนื่องจากเมื่อเริ่มใช้งานระบบที่พัฒนาขึ้นมา
- ประเภทต้นทุน
ต้นทุนที่จับต้องได้ คือ ต้นทุนที่สามารถประเมินค่าหรือวัดออกมาเป็นเงินได้
ต้นทุนที่จับต้องไม่ได้ คือ ต้นทุนที่ยากต่อการประเมินค่าหรือวัดออกมาเป็นมูลค่าหรือวัดออกมาเป็นตัวเงิน
- ลักษณะในการใช้จ่ายการต้นทุน
ต้นทุนที่เกิดขึ้นครั้งเดียว คือ เป็นค่าใช้จ่ายใช้จ่ายที่เกิดขึ้นครั้งเดียว อาจเกิดขึ้นขณะเริ่มต้นโครงการพัฒนาระบบ หรือเกิดขึ้นใช้งานระบบใหม่
ต้นทุนที่เกิดขึ้นครั้งแล้วครั้งเล่า คือ เป็นค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นตลอดการพัฒนาระบบหรือขณะใช้งานระบบ
- ปริมาณต้นทุน
ต้นทุนคงที่
คือ เป็นค่าใช้จ่ายที่ไม่เปลี่ยนแปลงไปตามการใช้งาน เช่น เงินเดือนพนักงาน ค่าเช่าสำนักงาน ค่าเช่าอุปกรณ์สำนักงาน
ต้นทุนแปรผัน
คือ เป็นค่าใช้จ่ายที่เปลี่ยนแปลงไปตามการใช้งานจริง เช่น ค่าบริการด้านสาธารณูปโภค ค่าวัสถุสิ้นเปลืองต่างๆ ค่าเดินทาง
2. ประสบการณ์การทำงานในระบบงาน ผู้ใช้งานระบบปัจจุบันที่มีประสบการณ์การทำงานจริงมักจะทราบปัญหาหรือหรือความต้องการที่แท้จริงจะช่วยลดความเสี่ยงในการพัฒนาระบบลงได้
3. ความเข้าใจที่เกี่ยวกับการพัฒนาระบบการทำงาน เช่น ผู็ใช้หรือผู้บริหารองค์กรเกิดความคาดหวังสูงต่อการพัฒนาระบบมากเกินจริง แต่เมื่อทราบภายหลังว่าการพัฒนาระบบไม่สามารถเป็นไปตามที่คาดหวังก็อาจจะตัดสินใจระงับโครงการพัฒนาระบบกลางคันได้
- ประเภทต้นทุน
ต้นทุนที่จับต้องได้ คือ ต้นทุนที่สามารถประเมินค่าหรือวัดออกมาเป็นเงินได้
ต้นทุนที่จับต้องไม่ได้ คือ ต้นทุนที่ยากต่อการประเมินค่าหรือวัดออกมาเป็นมูลค่าหรือวัดออกมาเป็นตัวเงิน
- ลักษณะในการใช้จ่ายการต้นทุน
ต้นทุนที่เกิดขึ้นครั้งเดียว คือ เป็นค่าใช้จ่ายใช้จ่ายที่เกิดขึ้นครั้งเดียว อาจเกิดขึ้นขณะเริ่มต้นโครงการพัฒนาระบบ หรือเกิดขึ้นใช้งานระบบใหม่
ต้นทุนที่เกิดขึ้นครั้งแล้วครั้งเล่า คือ เป็นค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นตลอดการพัฒนาระบบหรือขณะใช้งานระบบ
- ปริมาณต้นทุน
ต้นทุนคงที่
คือ เป็นค่าใช้จ่ายที่ไม่เปลี่ยนแปลงไปตามการใช้งาน เช่น เงินเดือนพนักงาน ค่าเช่าสำนักงาน ค่าเช่าอุปกรณ์สำนักงาน
ต้นทุนแปรผัน
คือ เป็นค่าใช้จ่ายที่เปลี่ยนแปลงไปตามการใช้งานจริง เช่น ค่าบริการด้านสาธารณูปโภค ค่าวัสถุสิ้นเปลืองต่างๆ ค่าเดินทาง
2. ความเป็นไปได้ทางเทคนิค
เป็นการประเมินความเสี่ยงที่มาจากความสามารถของผู้พัฒนาระบบในการทำความเข้าใจกับระบบงานความสามารถของเทคโนโลยี รวมทั้งต้องศึกษาว่าเมื่อติดตั้งระบบไปแล้วจะสามารถใช้ระบบได้ทันทีหรือไม่ ทำงานได้ถูกต้องหรือไม่ ระหว่างที่ติดตั้งระบบใหม่ต้องหยุดงานเก่า หรือทำงานไปพร้อมๆ กันได้หรือไม่
2.1 ขนาดของระบบงาน
2.1 ขนาดของระบบงาน
- ลักษณะความเสี่ยง
ระบบที่มีขนาดใหญ่ย่อมมีความเสี่ยงสูงมากกว่าระบบที่มีขนาดเล็ก โดยเกณฑ์ที่ใช้วัดขนาดของระบบนั้น ขึ้นกับมุมมองและประสบการณ์การทำงานของแต่ละบุคคล และปัจจัยเสี่ยงทีมาจากขนาดของระบบงานจะสานสัมพันธ์กับค่าใช้จ่ายที่ต้องลงทุนในการพัฒนาระบบโดยตรง
- สิ่งที่เกี่ยวข้องกับความเสี่ยง
1. จำนวนบุคลากรในทีมงานพัฒนา
หากจำนวนสมาชิกทำงานในทีมมีน้อยเกินไปก็จะมีเพิ่มความเสี่ยงที่โครงการพัฒนาจะไม่แล้วเสร็จ แต่หากสมาชิกมากเกินไปก็อาจจะเป็นการเพิ่มต้นทุนในการพัฒนาระบบได้
2. ระยะเวลาที่ใช้ในการพัฒนา
โครงการที่มีระบบใหญ่ย่อมมีรายละเอียดการพัฒนามากกว่าระบบขนาดเล็ก ดังนั้น โครงการขนาดใหญ่จะใช้เวลามากกว่าโครงการขนาดเล็ก
3. องค์ประกอบหรือระบบย่อยของระบบงาน
ระบบที่มีขนาดใหญ่ประกอบด้วยองค์ประกอบที่สัมพันธ์กันมากกว่าระบบขนาดเล็ก ในภาคปฏิบัติแล้วระบบย่อยก็คือส่วนงานหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับองค์กรจะมีมากขึ้น
4. ระดับความเอาใจใส่ต่องาน
การพัฒนารระบบขนาดใหญ่จึงต้องการความใส่ใจในการทำงานมากกว่าการพัฒนาระบบขนาดเล็ก
เช่น จะต้องใช้ความเพียรพยายาม การลงแรง และความรอบคอบในงานทำงานที่มากกว่า
2.2 โครงสร้างของระบบงาน
2.2 โครงสร้างของระบบงาน
- ลักษณะความเสี่ยง
ข้อกำหนดเชิงความต้องการและโครงสร้างของระบบงานที่ซับซ้อน จะมีความเสี่ยงมากกว่าระบบที่กำหนดความต้องการแบบง่ายๆ ในทำนองเดียวกัน ระบบที่มีความเป็นโครงสร้างสูง มีความเสี่ยงน้อยกว่าระบบที่ไม่มีโครงสร้าง
โดยทั่วไปที่เกี่ยวข้องกับปัจจัยเสี่ยงที่มาจากโครงสร้างของระบบงานคือ
1. แนวทางการพัฒนา
1) การพัฒนาระบบใหม่ จะมีความเสี่ยงในการดำเนินการมากกว่าการพัฒนาระบบที่มีตัวอย่างการพัฒนามาก่อนแล้ว โกาสที่การพัฒนาระบบจะไม่ครบถ้วนตามข้อกำหนดความต้องการนั้นจะมีมากกว่า
2) การปรับปรุงระบบงานเดิม จะมีความเสี่ยงน้อยกว่าบางด้าน แต่ก็มีโอกาสรับผลของควมผิดพลาดที่มาจากการพัฒนาระบบเดิมที่มีอยู่แล้ว
- สิ่งที่เกี่ยวข้องกับความเสี่ยง
โดยทั่วไปที่เกี่ยวข้องกับปัจจัยเสี่ยงที่มาจากโครงสร้างของระบบงานคือ
1. แนวทางการพัฒนา
1) การพัฒนาระบบใหม่ จะมีความเสี่ยงในการดำเนินการมากกว่าการพัฒนาระบบที่มีตัวอย่างการพัฒนามาก่อนแล้ว โกาสที่การพัฒนาระบบจะไม่ครบถ้วนตามข้อกำหนดความต้องการนั้นจะมีมากกว่า
2) การปรับปรุงระบบงานเดิม จะมีความเสี่ยงน้อยกว่าบางด้าน แต่ก็มีโอกาสรับผลของควมผิดพลาดที่มาจากการพัฒนาระบบเดิมที่มีอยู่แล้ว
2. ผลลัพธ์จากการพัฒนาระบบ
การกำหนดโครงสร้างการพัฒนาระบบงานมักมีผลต่อการกำหนด หรือเปลี่ยนแปลงโครงสร้างการทำงานในองค์กร และการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอาจจะส่งผลใหเกิดกระแสต่อต้านการพัฒนาระบบจนไม่สามารถดำเนินโครงการพัฒนาจนเสร็จสิ้นได้
3. การมีส่วนร่วมของผู้ใช้งานระบบ
ผู้ใช้งานระบบเป็นผู้ที่มีส่วนกำหนดความต้องการอย่างมาก หากระบบมีความซับซ้อนที่ต้องใช้เวลาในการรวบรวมความต้องการ ผู้ใช้จะยิ่งถูกรบกวนเวลาการทำงานทำงานปกติมากขึ้น แม้ผู้ใช้จะให้ความร่วมมืออย่างดีในระยะแรกแต่ก็อาจจะกลายเป็นความเบื่อหน่ายแทนในในระยะเวลาต่อมาถ้าหากถูกรบกวนจากผู้พัฒนาระบบมากเกินไป
4. การมีส่วนร่วมของผู้บริหารระดับสูง
ยิ่งการพัฒนาระบบมีข้อกำหนดความต้องการมาก หรือระบบต้องสนับสนุนงานด้านบริหารมากหรืองานบริหารนั้นมีโครงสร้างที่ยากต่อการกำหนดลักษณะความต้องการที่ตายตัว ก็จะยิ่งต้องอาศัยการสนับสนุนจากผู้บริหารองค์กรมาก
5. ความครบถ้วนในการรวบรวมข้อมูล
ระบบการทำงานที่ซับซ้อนต้องการรวบรวมข้อมูลสำหรับการพัฒนาที่ครบถ้วน หากการรวบรวมข้อมูลไม่ครบถ้วนก็จะทำให้ผลการทำงานไม่ถูกต้องหรือไม่ครบถ้วนตามที่ต้องการ
2.3 ประสบการณ์ของผู้พัฒนาและการเลือกใช้เทคโนโลยี
1. ตัวระบบงานที่พัฒนา หากผู้พัฒนามีความชำนาญ มีความรู้ความเข้าใจ หรือความคุ้นเคยกับระบบงานที่มีลักษณะเดียวกับระบบงานที่กำลังพัฒนามาก่อน ความเสี่ยงในการพัฒนาระบบงานจะน้อยลง
2. ประสบการณ์การทำงาน นอกจากความรู้ทางทฤษฎีแล้ว ประสบการณ์การทำงานจริงหรือความอาวุโสของอายุการทำงานที่มากจะช่วยลดความเสี่ยงในการพัฒนาระบบลง
3. การเลือกใช้เทคโนโลยีในระบบงาน เทคโนโลยีเป็นมาตรฐานทั่วไปหรือมีการใช้งานอยู่ทั่วไป มีความเสี่ยงน้อยกว่าการใช้เทคโนโลยีที่ไม่เป็นมาตรฐานหรือเป็นเทคโนโลยีใหม่ี่ยังไม่เป็นที่แพร่หลาย อย่างไรก็ตามในแง่การเลือกใช้เทคโนโลยีที่มาในรูปอุปกรณ์ต่างๆ ยังต้องเปรียบเทียบในประเด็นอื่นเพิ่มเติมอีก เพราะบางครั้งอาจมีความจำเป็นต้องรับความเสี่ยงจากการเลือกใช้เทคโนโลยีที่ต่างมาตรฐานทั่วไป ซึ่งต้องอาศัยผู้มีประสบการณ์ในการพัฒนาระบบในการตัดสินใจ
2.4 ประสบการณ์ของผู้ใช้และกรรมวิธีในระบบ
เช่น การให้ข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะการทำงานที่ถูกต้อง การแจ้งปัญหาและความต้องการที่ตรงประเด็น ย่อมเกิดความเสี่ยงในการพัฒนาระบบที่น้อยกว่า
1. ความเข้าใจในระบบการทำงาน ผู้ใช้งานระบบปัจจุบันที่มีความเข้าใจอย่างดีสามารถมีส่วนร่วมในการพัฒนาระบบ โดยข้อมูลที่ถูกต้องตามที่ผู็พัฒนาต้องการ ความเสี่ยงในการพัฒนาระบบงานที่ผิดพลาดก็จะน้อยลงการกำหนดโครงสร้างการพัฒนาระบบงานมักมีผลต่อการกำหนด หรือเปลี่ยนแปลงโครงสร้างการทำงานในองค์กร และการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอาจจะส่งผลใหเกิดกระแสต่อต้านการพัฒนาระบบจนไม่สามารถดำเนินโครงการพัฒนาจนเสร็จสิ้นได้
3. การมีส่วนร่วมของผู้ใช้งานระบบ
ผู้ใช้งานระบบเป็นผู้ที่มีส่วนกำหนดความต้องการอย่างมาก หากระบบมีความซับซ้อนที่ต้องใช้เวลาในการรวบรวมความต้องการ ผู้ใช้จะยิ่งถูกรบกวนเวลาการทำงานทำงานปกติมากขึ้น แม้ผู้ใช้จะให้ความร่วมมืออย่างดีในระยะแรกแต่ก็อาจจะกลายเป็นความเบื่อหน่ายแทนในในระยะเวลาต่อมาถ้าหากถูกรบกวนจากผู้พัฒนาระบบมากเกินไป
4. การมีส่วนร่วมของผู้บริหารระดับสูง
ยิ่งการพัฒนาระบบมีข้อกำหนดความต้องการมาก หรือระบบต้องสนับสนุนงานด้านบริหารมากหรืองานบริหารนั้นมีโครงสร้างที่ยากต่อการกำหนดลักษณะความต้องการที่ตายตัว ก็จะยิ่งต้องอาศัยการสนับสนุนจากผู้บริหารองค์กรมาก
5. ความครบถ้วนในการรวบรวมข้อมูล
ระบบการทำงานที่ซับซ้อนต้องการรวบรวมข้อมูลสำหรับการพัฒนาที่ครบถ้วน หากการรวบรวมข้อมูลไม่ครบถ้วนก็จะทำให้ผลการทำงานไม่ถูกต้องหรือไม่ครบถ้วนตามที่ต้องการ
2.3 ประสบการณ์ของผู้พัฒนาและการเลือกใช้เทคโนโลยี
- ลักษณะความเสี่ยง
- สิ่งที่เกี่ยวข้องกับความเสี่ยง
1. ตัวระบบงานที่พัฒนา หากผู้พัฒนามีความชำนาญ มีความรู้ความเข้าใจ หรือความคุ้นเคยกับระบบงานที่มีลักษณะเดียวกับระบบงานที่กำลังพัฒนามาก่อน ความเสี่ยงในการพัฒนาระบบงานจะน้อยลง
2. ประสบการณ์การทำงาน นอกจากความรู้ทางทฤษฎีแล้ว ประสบการณ์การทำงานจริงหรือความอาวุโสของอายุการทำงานที่มากจะช่วยลดความเสี่ยงในการพัฒนาระบบลง
3. การเลือกใช้เทคโนโลยีในระบบงาน เทคโนโลยีเป็นมาตรฐานทั่วไปหรือมีการใช้งานอยู่ทั่วไป มีความเสี่ยงน้อยกว่าการใช้เทคโนโลยีที่ไม่เป็นมาตรฐานหรือเป็นเทคโนโลยีใหม่ี่ยังไม่เป็นที่แพร่หลาย อย่างไรก็ตามในแง่การเลือกใช้เทคโนโลยีที่มาในรูปอุปกรณ์ต่างๆ ยังต้องเปรียบเทียบในประเด็นอื่นเพิ่มเติมอีก เพราะบางครั้งอาจมีความจำเป็นต้องรับความเสี่ยงจากการเลือกใช้เทคโนโลยีที่ต่างมาตรฐานทั่วไป ซึ่งต้องอาศัยผู้มีประสบการณ์ในการพัฒนาระบบในการตัดสินใจ
2.4 ประสบการณ์ของผู้ใช้และกรรมวิธีในระบบ
- ลักษณะของความเสี่ยง
เช่น การให้ข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะการทำงานที่ถูกต้อง การแจ้งปัญหาและความต้องการที่ตรงประเด็น ย่อมเกิดความเสี่ยงในการพัฒนาระบบที่น้อยกว่า
- สิ่งที่เกี่ยวข้องกับความเสี่ยง
2. ประสบการณ์การทำงานในระบบงาน ผู้ใช้งานระบบปัจจุบันที่มีประสบการณ์การทำงานจริงมักจะทราบปัญหาหรือหรือความต้องการที่แท้จริงจะช่วยลดความเสี่ยงในการพัฒนาระบบลงได้
3. ความเข้าใจที่เกี่ยวกับการพัฒนาระบบการทำงาน เช่น ผู็ใช้หรือผู้บริหารองค์กรเกิดความคาดหวังสูงต่อการพัฒนาระบบมากเกินจริง แต่เมื่อทราบภายหลังว่าการพัฒนาระบบไม่สามารถเป็นไปตามที่คาดหวังก็อาจจะตัดสินใจระงับโครงการพัฒนาระบบกลางคันได้
3. ความเป็นไปได้อื่นในแง่ธุรกิจ
3.1 ความเป็นไปได้ด้านการปฏิบัติงาน
ความเป็นไปได้ด้านการปฏิบัติงาน มี 2 ด้านหลักๆ คือ
- ด้านผลลัพธ์การทำงานระบบ
- ด้านผลกระทบต่อองค์กร
3.2 ความเป็นไปได้ด้านตารางเวลาการทำงาน
เป็นการประเมินความสามรถในการพัฒนาระบบให้เสร็จตามกรอบเวลาที่กำหนดไว้หรือไม่ หรือหากแม้ทำเสร็จแล้ว ระบบนั้นสามารถให้ผลการทำงานที่ครบถ้วนตามที่ต้องการหรือไม่
3.3 ความเป็นไปได้ตามกฏหมายและสัญญา
ความเป็นไปได้ตามกฏหมายและสัญญา เป็นการประเมินความเสี่ยงการพัฒนาระบบที่มีกฏหมายมา เกี่ยวข้องในหลายด้านและนักวิเคราะห์ระบบต้องทราบผลทางกฏหมายเมื่อมีการพัฒนาระบบ
3.4 ความเป็นไปได้ด้านการเมือง
เป็นการประเมินความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับการมีส่วนได้ส่วนเสียของบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาระบบ การเมืองในที่นี้หมายถึงการเมืองภายในองค์กร นั่นคือ นักวิเคราะห์ระบบต้องพิจารณาให้เห็นถึงกลุ่มที่ได้ประโยชน์และกลุ่มที่เสียประโยชน์
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น